TOP จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม SECRETS

Top จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Secrets

Top จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Secrets

Blog Article

"จากเป็นขอทานในเกาหลีเหนือ ผมหนีมาเดบิวต์เป็นศิลปินเค-ป็อป"

ร.บ. ฉบับนี้ทำให้คู่รักเพศเดียวกันกลายเป็นพลเมืองชั้นสอง อีกทั้งสิทธิที่ได้รับจากร่าง พ.ร.บ.ก็น้อยมากเมื่อเทียบกับกฎหมายสมรสแบบชาย-หญิง ตัวอย่างเช่น 

ศ. …. นำร่างกฎหมายทั้งหมดเข้าพิจารณาร่วมกัน

เดิมเรื่องเหตุเรียกค่าทดแทนและเหตุหย่า กฎหมายกำหนดเฉพาะกรณีที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกับคู่หมั้นหรือคู่สมรสของตน ในลักษณะจำกัดกรอบว่าเกิดจากกิจกรรมทางเพศที่เรียกว่า ‘การร่วมประเวณี’ หรือความสัมพันธ์ ‘ทำนองชู้สาว’ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการครอบคลุม จึงขยายถ้อยคำไปให้รวมถึงกิจกรรมทางเพศที่ไม่จำกัดเฉพาะแต่เรื่องการร่วมประเวณี ที่อาจถูกตีความว่าเป็นการร่วมเพศกันระหว่างชายและหญิงกันโดยมีการสอดใส่เท่านั้น หากแต่เพิ่มเติมถ้อยคำเพื่อให้รวมถึงกิจกรรมทางเพศที่มุ่งสนองความใคร่ไม่ว่ากระทำกับบุคคลเพศใดด้วย และคำที่ใช้ว่า ‘ทำนองชู้สาว’ ก็ตัดคำว่า ‘สาว’ ออก เป็นคำว่า ‘ทำนองชู้’ เพื่อตัดประเด็นคู่ความสัมพันธ์ในทางเพศ

แต่ในอีกแง่หนึ่ง ดูเหมือนว่าในช่วงเวลานั้นนักแสดงผู้ชายมีความได้เปรียบมากกว่านักแสดงผู้หญิงอยู่มาก จากข้อมูลในบทความเรื่อง การแสดงบทบาทข้ามเพศ: แนวคิดนอกกรอบเพศภาวะ และปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการข้ามเพศ ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

แม้ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมของแต่ละฝ่าย จะมีความแตกต่างในรายละเอียด แต่ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.

ร.บ. ของ ครม. ที่ไม่ได้ระบุเรื่องนี้ไว้

กทม. พร้อมจดทะเบียนสมรสให้กลุ่มคู่รักหลากหลายทางเพศ ทันทีที่กฎหมายประกาศใช้

งานศึกษาเรื่อง “ความหลากหลายทางเพศในมิติประวัติศาสตร์สังคมมนุษย์” ของคณาจารย์ด้านสังคมศาสตร์ คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฎเลย สะท้อนให้เห็นว่า ผู้คนรับรู้ถึงการมีอยู่ของผู้มีความหลากหลายทางเพศตั้งแต่ยุคโบราณ โดยพบว่าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีบันทึกเกี่ยวกับกะเทยในอาณาจักรเจนละที่ดูมีเสรีภาพในที่สาธารณะ

ร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมที่มีการพิจารณานี้ มีการใช้คำว่า “คู่สมรส” แทนคำว่า “คู่สามีและภริยา” จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม ในกฎหมายเดิม ในหลายมาตรา ซึ่ง พ.

ร.บ.คู่ชีวิตได้กำหนดถ้อยคำที่แยกออกมาเป็น 'คู่ชีวิต' ทำให้คู่ชีวิตขาดโอกาสในการเข้าถึงสวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์ที่รัฐได้กำหนดไว้ให้ 'คู่สมรส' เช่น การลดหย่อนภาษีของคู่สมรสตามประมวลรัษฎากร

เหตุใดประเทศไทยจึงเป็นมิตรกับผู้มีความหลากหลายทางเพศ มากกว่าชาติอื่นในเอเชีย ?

สำหรับเรื่องการใช้นามสกุลของคู่สมรส ร่าง พ.ร.บ. ของพรรคก้าวไกล, พรรคประชาธิปัตย์ และของภาคประชาชน ได้อนุญาตให้ใช้นามสกุลของคู่สมรสได้ ยกเว้นร่าง พ.

ดังนั้น พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่สำคัญอีกครั้งหนึ่งในไทย 

Report this page